- นางสาวนุสบา น้ำใจเย็น ชื่อเล่นมายด์
- รหัสนักศึกษา5411204422 คณะศึกษาศาสตร์ สาขาการศึกษาปฐมวัย มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
วันศุกร์ที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2555
บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 16 (28/09/55)
วันนี้อาจารย์ได้เเจกกระดาษเพื่อให้นักศึกษาเเสดงความคิดเห็นหรือวิเคราะห์ในเรื่องของเเท็บเล็บภายในเวลลา 20 นาที ในหัวข้อที่ว่าจุดประสงค์ของแท็บแล็ต ประโยชน์ของแท็บแล็ต ข้อดีข้อเสียข้อจำกัดของแท็บแล็ต และแท็บแล็ตมีความสัมพันธ์กับเด็กป.1อย่างไร
วันพฤหัสบดีที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2555
บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 15 (21/09/55)
จากนั้นอาจารย์ให้นักศึกษาไปแก้ไข Blog และนักศึกษาที่ยังไม่ได้ทำค่ะ
-อาจารย์ได้แนะนำในการทำงานแต่ละชี้น ดังนี้
1.ตั้งวัตถูประสงค์
2.ศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลจากแหล่งต่างๆ
3.นำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์
4.ปรับปรุงแก้ไข และตกแต่ง
วิธีการเรียนรู้จากที่เราได้เรียนและปฏิบัติมาสามารถสรุป ได้ดังนี้
- การสร้างสื่อ, การผลิตสื่อ จากนั้นมีการวางแผน เช่น การทำปฏิทินภาษาสำหรับเด็ก
- การนำมาประยุกต์ใช้
- วิธีการร้องเพลง เช่น การนำทำนองเพลงของเพลงอื่นมาใส่เป็นทำนองเพลงที่เราแต่งขึ้นมาเอง
- การเล่านิทาน เช่น นิทานเล่าไปวาดไป นิทานเล่าไปฉีดไป และนิทานเล่าไปพับไป เป็นต้น
- การได้ลงมือปฏิบัติจริง เช่น การไปสัมภาษณ์เด็กที่โรงเรียนสาธิตจันทรเกษม
ทักษะในการดำเนินชีวิต
- ต้องมีประสบการณ์
- ความชำนาญ
- การนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน เช่น มีการแลกเปลี่ยนความรู้ซึ่งกันและกัน เช่น ที่เราทำ Blogspot
บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 14 (14/09/55)
วันนี้อาจารย์ให้นักศึกษากลุ่มที่ยังไม่ได้ร้องเพลง ให้ร้องให้เสร็จ จากนั้นนักศึกษาแต่ละกลุ่มเล่านิทานหน้าชั้นเรียน นิทานจะมีเล่าไปวาดไป นิทานเล่าไปฉีกไป นิทานเล่าไปพับไป นิทานเล่าโดยการใช้เชือก โดยทั้งหมดมี 18 กลุ่ม ดังนี้
กลุ่มที่ 1 นิทานเรื่องช้างใจดี (เล่าไปฉีกไป)
กลุ่มที่ 2 นิทานเรื่องเจ้าแสนซน (เล่าไปพับไป)
กลุ่มที่ 3 นิทานเรื่องกระต่ายเพื่อนเกลอ (เล่าโดยใช้เชือก)
กลุ่มที่ 4 นิทานเรื่องโจรใจร้าย (เล่าโดยใช้เชือก) กลุ่มของดิฉัน
กลุ่มที่ 5 นิทานเรื่องเจ้าแกละกับดวงอาทิตย์ (เล่าไปฉีกไป)
กลุ่มที่ 6 นิทานเรื่องกบน้อยแสนซน (เล่าไปฉีกไป)
กลุ่มที่ 7 นิทานเรื่องเจ้างูน้อยกับเถาวัลย์ (เล่าโดยใช้เชือก)
กลุ่มที่ 8 นิทานเรื่องต้นไม้ของเรา (เล่าไปพับไป)
กลุ่มที่ 9 นิทานเรื่องวันหยุดของน้องเบส (เล่าไปตัดไป)
กลุ่มที่ 10 นิทานเรื่องดาวเคราะห์ของยาย (เล่าไปวาดไป)
กลุ่มที่ 11 นิทานเรื่องตุ๊งแช่จอมซ่า (เล่าไปวาดไป)
กลุ่มที่ 12 นิทานเรื่องน้องมดอยากไปเที่ยวทะเล (เล่าไปพับไป)
กลุ่มที่ 13 นิทานเรื่องแพวิเศษ (เล่าไปพับไป)
กลุ่มที่ 14 นิทานเรื่องความสุขของคุณยาย (เล่าไปวาดไป)
กลุ่มที่ 15 นิทานเรื่องยักษ์สองตน (เล่าไปพับไป)
กลุ่มที่ 16 นิทานเรื่องพระจันทร์ไม่มีเพื่อน (เล่าไปตัดไป)
กลุ่มที่ 17 นิทานเรื่องพระอาทิตย์ยิ้มแฉ่ง (เล่าไปวาดไป)
กลุ่มที่ 18 นิทานเรื่องครอบครัวเศรษฐกิจพอเพียง (เล่าไปวาดไป)
ภาพกิจกรรม
กลุ่มที่ 1 นิทานเรื่องช้างใจดี (เล่าไปฉีกไป)
กลุ่มที่ 2 นิทานเรื่องเจ้าแสนซน (เล่าไปพับไป)
กลุ่มที่ 3 นิทานเรื่องกระต่ายเพื่อนเกลอ (เล่าโดยใช้เชือก)
กลุ่มที่ 4 นิทานเรื่องโจรใจร้าย (เล่าโดยใช้เชือก) กลุ่มของดิฉัน
กลุ่มที่ 5 นิทานเรื่องเจ้าแกละกับดวงอาทิตย์ (เล่าไปฉีกไป)
กลุ่มที่ 6 นิทานเรื่องกบน้อยแสนซน (เล่าไปฉีกไป)
กลุ่มที่ 7 นิทานเรื่องเจ้างูน้อยกับเถาวัลย์ (เล่าโดยใช้เชือก)
กลุ่มที่ 8 นิทานเรื่องต้นไม้ของเรา (เล่าไปพับไป)
กลุ่มที่ 9 นิทานเรื่องวันหยุดของน้องเบส (เล่าไปตัดไป)
กลุ่มที่ 10 นิทานเรื่องดาวเคราะห์ของยาย (เล่าไปวาดไป)
กลุ่มที่ 11 นิทานเรื่องตุ๊งแช่จอมซ่า (เล่าไปวาดไป)
กลุ่มที่ 12 นิทานเรื่องน้องมดอยากไปเที่ยวทะเล (เล่าไปพับไป)
กลุ่มที่ 13 นิทานเรื่องแพวิเศษ (เล่าไปพับไป)
กลุ่มที่ 14 นิทานเรื่องความสุขของคุณยาย (เล่าไปวาดไป)
กลุ่มที่ 15 นิทานเรื่องยักษ์สองตน (เล่าไปพับไป)
กลุ่มที่ 16 นิทานเรื่องพระจันทร์ไม่มีเพื่อน (เล่าไปตัดไป)
กลุ่มที่ 17 นิทานเรื่องพระอาทิตย์ยิ้มแฉ่ง (เล่าไปวาดไป)
กลุ่มที่ 18 นิทานเรื่องครอบครัวเศรษฐกิจพอเพียง (เล่าไปวาดไป)
ภาพกิจกรรม
บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 13 (07/09/55)
-วันนี้อาจารย์แจกแผ่นประดิษฐ์อักษรสำเร็จและสีไม้คนละ 1 กล่อง
-อาจารย์สรุปเรื่องภาษา เริ่มจากการสังเกตของเด็ก การสัมภาษณ์เด็ก และการวิเคราะห์ภาษา
การส่งเสริมทางภาษามี 4 ด้าน คือ
1.ฟัง = เทปอัดเสียงนิทาน เสียงเพลง
2.พูด = หุ่นมือ (เด็กพูดกับหุ่นมือ)
3.อ่าน = หนังสือนิทาน
4.เขียน = กระดาษใส่กล่อง หรือกระดานขนาดเล็ก
มุมประสบการณ์ทางภาษา เช่น รูปภาพ นิทาน บัตรคำ
มุมประสบการณ์ทางภาษาต้องการความเงียบสงบ ดังนั้นมุมที่ไม่ควรอยู่ใกล้ คือ มุมบล็อก
บูรณาการทางภาษาผ่านชีวิตประจำวัน 6 กิจกรรม มีดังนี้
1.การทักทายคุณครู ก่อนเข้าโรงเรียน
2.เซ็นชื่อ/ลงชื่อ
3.กิจกรรมหน้าเสาธง(สวดมนต์ไหว้พระ)
4.เข้าห้องทำกิจกรรม
-วันจันทร์ = กิจกรรมเรื่องเล่าเสาร์-อาทิตย์ -วันอังคาร = กิจกรรมของรัก-ของหวง
-วันพุธ = กิจกรรมโฆษณา -วันพฤหัสบดี = กิจกรรมประชาสัมพันธ์
-วันศุกร์ = เล่าข่าว(สิ่งที่เกิดขึ้นตั้งแต่ตอนเช้า)
5.กิจกรรมการเคลื่อนไหว
-ร้องเพลง -ทำท่าประกอบ
6.กิจกรรมศิลปะ = วาดภาพแทนคำพูด
7.กิจกรรมเสริมประสบการณ์(ขั้นนำ/ขั้นสอน/ขั้นสรุป)
-ร้องเพลง -นิทาน -ประสบการณ์เดิม-เกม
-คำคล้องจอง -การใช้คำถาม -ปริศนาคำทาย
8.กิจกรรมกลางแจ้ง
-กติกา -ข้อตกลงต่างๆ
9.กิจกรรมเกมการศึกษา
-จิ๊กซอ -โดมิโน -จับคู่ -เรียงลำดับเหตุการณ์
-ล็อตโต -ความสัมพันธ์สองแกน -อนุกรม
10.กิจกรรมสร้างสรรค์ เช่น แต่งคำขวัญเกี่ยวกับเหล้า
-อาจารย์สรุปเรื่องภาษา เริ่มจากการสังเกตของเด็ก การสัมภาษณ์เด็ก และการวิเคราะห์ภาษา
ภาษา เป็นเครื่องของการสื่อสาร
สื่อที่ใช้ คือ สื่อที่ส่งเสริมทางด้านภาษา เช่น นิทาน คำคล้องจอง ปริศนาคำทาย เป็นต้น การส่งเสริมทางภาษามี 4 ด้าน คือ
1.ฟัง = เทปอัดเสียงนิทาน เสียงเพลง
2.พูด = หุ่นมือ (เด็กพูดกับหุ่นมือ)
3.อ่าน = หนังสือนิทาน
4.เขียน = กระดาษใส่กล่อง หรือกระดานขนาดเล็ก
มุมประสบการณ์ทางภาษา เช่น รูปภาพ นิทาน บัตรคำ
มุมประสบการณ์ทางภาษาต้องการความเงียบสงบ ดังนั้นมุมที่ไม่ควรอยู่ใกล้ คือ มุมบล็อก
บูรณาการทางภาษาผ่านชีวิตประจำวัน 6 กิจกรรม มีดังนี้
1.การทักทายคุณครู ก่อนเข้าโรงเรียน
2.เซ็นชื่อ/ลงชื่อ
3.กิจกรรมหน้าเสาธง(สวดมนต์ไหว้พระ)
4.เข้าห้องทำกิจกรรม
-วันจันทร์ = กิจกรรมเรื่องเล่าเสาร์-อาทิตย์ -วันอังคาร = กิจกรรมของรัก-ของหวง
-วันพุธ = กิจกรรมโฆษณา -วันพฤหัสบดี = กิจกรรมประชาสัมพันธ์
-วันศุกร์ = เล่าข่าว(สิ่งที่เกิดขึ้นตั้งแต่ตอนเช้า)
5.กิจกรรมการเคลื่อนไหว
-ร้องเพลง -ทำท่าประกอบ
6.กิจกรรมศิลปะ = วาดภาพแทนคำพูด
7.กิจกรรมเสริมประสบการณ์(ขั้นนำ/ขั้นสอน/ขั้นสรุป)
-ร้องเพลง -นิทาน -ประสบการณ์เดิม-เกม
-คำคล้องจอง -การใช้คำถาม -ปริศนาคำทาย
8.กิจกรรมกลางแจ้ง
-กติกา -ข้อตกลงต่างๆ
9.กิจกรรมเกมการศึกษา
-จิ๊กซอ -โดมิโน -จับคู่ -เรียงลำดับเหตุการณ์
-ล็อตโต -ความสัมพันธ์สองแกน -อนุกรม
10.กิจกรรมสร้างสรรค์ เช่น แต่งคำขวัญเกี่ยวกับเหล้า
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)