
Language Experiences Management for Early Childhood
การจัดประสบการทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย

- นางสาวนุสบา น้ำใจเย็น ชื่อเล่นมายด์
- รหัสนักศึกษา5411204422 คณะศึกษาศาสตร์ สาขาการศึกษาปฐมวัย มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
วันศุกร์ที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2555
บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 16 (28/09/55)

วันพฤหัสบดีที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2555
บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 15 (21/09/55)

จากนั้นอาจารย์ให้นักศึกษาไปแก้ไข Blog และนักศึกษาที่ยังไม่ได้ทำค่ะ

-อาจารย์ได้แนะนำในการทำงานแต่ละชี้น ดังนี้
1.ตั้งวัตถูประสงค์
2.ศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลจากแหล่งต่างๆ
3.นำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์
4.ปรับปรุงแก้ไข และตกแต่ง

- การสร้างสื่อ, การผลิตสื่อ จากนั้นมีการวางแผน เช่น การทำปฏิทินภาษาสำหรับเด็ก
- การนำมาประยุกต์ใช้
- วิธีการร้องเพลง เช่น การนำทำนองเพลงของเพลงอื่นมาใส่เป็นทำนองเพลงที่เราแต่งขึ้นมาเอง
- การเล่านิทาน เช่น นิทานเล่าไปวาดไป นิทานเล่าไปฉีดไป และนิทานเล่าไปพับไป เป็นต้น
- การได้ลงมือปฏิบัติจริง เช่น การไปสัมภาษณ์เด็กที่โรงเรียนสาธิตจันทรเกษม

- ต้องมีประสบการณ์
- ความชำนาญ
- การนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน เช่น มีการแลกเปลี่ยนความรู้ซึ่งกันและกัน เช่น ที่เราทำ Blogspot
บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 14 (14/09/55)
























บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 13 (07/09/55)
-วันนี้อาจารย์แจกแผ่นประดิษฐ์อักษรสำเร็จและสีไม้คนละ 1 กล่อง 

-อาจารย์สรุปเรื่องภาษา เริ่มจากการสังเกตของเด็ก การสัมภาษณ์เด็ก และการวิเคราะห์ภาษา
ภาษา เป็นเครื่องของการสื่อสาร
สื่อที่ใช้ คือ สื่อที่ส่งเสริมทางด้านภาษา เช่น นิทาน คำคล้องจอง ปริศนาคำทาย เป็นต้น 
การส่งเสริมทางภาษามี 4 ด้าน คือ
1.ฟัง = เทปอัดเสียงนิทาน เสียงเพลง
2.พูด = หุ่นมือ (เด็กพูดกับหุ่นมือ)
3.อ่าน = หนังสือนิทาน
4.เขียน = กระดาษใส่กล่อง หรือกระดานขนาดเล็ก
มุมประสบการณ์ทางภาษา เช่น รูปภาพ นิทาน บัตรคำ 
มุมประสบการณ์ทางภาษาต้องการความเงียบสงบ ดังนั้นมุมที่ไม่ควรอยู่ใกล้ คือ มุมบล็อก
บูรณาการทางภาษาผ่านชีวิตประจำวัน 6 กิจกรรม มีดังนี้
1.การทักทายคุณครู ก่อนเข้าโรงเรียน
2.เซ็นชื่อ/ลงชื่อ
3.กิจกรรมหน้าเสาธง(สวดมนต์ไหว้พระ)
4.เข้าห้องทำกิจกรรม
-วันจันทร์ = กิจกรรมเรื่องเล่าเสาร์-อาทิตย์ -วันอังคาร = กิจกรรมของรัก-ของหวง
-วันพุธ = กิจกรรมโฆษณา -วันพฤหัสบดี = กิจกรรมประชาสัมพันธ์
-วันศุกร์ = เล่าข่าว(สิ่งที่เกิดขึ้นตั้งแต่ตอนเช้า)
5.กิจกรรมการเคลื่อนไหว
-ร้องเพลง -ทำท่าประกอบ
6.กิจกรรมศิลปะ = วาดภาพแทนคำพูด
7.กิจกรรมเสริมประสบการณ์(ขั้นนำ/ขั้นสอน/ขั้นสรุป)
-ร้องเพลง -นิทาน -ประสบการณ์เดิม-เกม
-คำคล้องจอง -การใช้คำถาม -ปริศนาคำทาย
8.กิจกรรมกลางแจ้ง
-กติกา -ข้อตกลงต่างๆ
9.กิจกรรมเกมการศึกษา
-จิ๊กซอ -โดมิโน -จับคู่ -เรียงลำดับเหตุการณ์
-ล็อตโต -ความสัมพันธ์สองแกน -อนุกรม
10.กิจกรรมสร้างสรรค์ เช่น แต่งคำขวัญเกี่ยวกับเหล้า


-อาจารย์สรุปเรื่องภาษา เริ่มจากการสังเกตของเด็ก การสัมภาษณ์เด็ก และการวิเคราะห์ภาษา






1.ฟัง = เทปอัดเสียงนิทาน เสียงเพลง
2.พูด = หุ่นมือ (เด็กพูดกับหุ่นมือ)
3.อ่าน = หนังสือนิทาน
4.เขียน = กระดาษใส่กล่อง หรือกระดานขนาดเล็ก


มุมประสบการณ์ทางภาษาต้องการความเงียบสงบ ดังนั้นมุมที่ไม่ควรอยู่ใกล้ คือ มุมบล็อก


1.การทักทายคุณครู ก่อนเข้าโรงเรียน
2.เซ็นชื่อ/ลงชื่อ
3.กิจกรรมหน้าเสาธง(สวดมนต์ไหว้พระ)
4.เข้าห้องทำกิจกรรม
-วันจันทร์ = กิจกรรมเรื่องเล่าเสาร์-อาทิตย์ -วันอังคาร = กิจกรรมของรัก-ของหวง
-วันพุธ = กิจกรรมโฆษณา -วันพฤหัสบดี = กิจกรรมประชาสัมพันธ์
-วันศุกร์ = เล่าข่าว(สิ่งที่เกิดขึ้นตั้งแต่ตอนเช้า)
5.กิจกรรมการเคลื่อนไหว

6.กิจกรรมศิลปะ = วาดภาพแทนคำพูด
7.กิจกรรมเสริมประสบการณ์(ขั้นนำ/ขั้นสอน/ขั้นสรุป)
-ร้องเพลง -นิทาน -ประสบการณ์เดิม-เกม
-คำคล้องจอง -การใช้คำถาม -ปริศนาคำทาย
8.กิจกรรมกลางแจ้ง
-กติกา -ข้อตกลงต่างๆ
9.กิจกรรมเกมการศึกษา
-จิ๊กซอ -โดมิโน -จับคู่ -เรียงลำดับเหตุการณ์
-ล็อตโต -ความสัมพันธ์สองแกน -อนุกรม
10.กิจกรรมสร้างสรรค์ เช่น แต่งคำขวัญเกี่ยวกับเหล้า
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)